รหัสวิชา : 411-346 ชื่อวิชา : คติชนวิทยา Folklore
ปีการศึกษา : 2559 ภาคการศึกษา : 1
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.2535.คู่มือการเขียนและการพิมพ์วิทยานิพนธ์.สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ปฐม หงส์สุวรรณ. 2554.ตำนานพระพุทธรูปล้านนา : พลังปัญญาทางความเชื่อและความสัมพันธ์กับท้องถิ่น.กรุงเทพฯ : ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
จรูญ ตันสูงเนิน, ประพันธ์ วิเศษรัฐกรรม,นุชนาถ สือรี.2540.ปริทรรศน์นิทานพื้นบ้านไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี.
จรูญ ตันสูงเนิน.2527.“ศาสตรา : วรรณกรรมพยากรณ์ชีวิตจากจังหวัดนครศรีธรรมราช”, ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสารมิตร.
เธียรชาย อักษรดิษฐ์.2552.พิธีกรรมพ้อนผี : ภาพสะท้อนปรากฏการณ์ต่อรองอำนาจทางสังคม.กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยเขตเศรษฐกิจวัฒนธรรมภาคเหนือตอนบน
ศิริพร ศรีวรกานต์.2544.ศรีธนญชัย ไทย-เยอรมัน : การศึกษาเปรียบเทียบนิทานมุขตลกศรีธนญชัยกับทิลล์ ออยเลนชะปีเกล.
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์.2521.โลกทรรศน์ไทยภาคใต้.สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา.
โสภนา ศรีจำปา.2544.โลกทัศน์ของชาวเวียดนามจากสุภาษิต.กรุงเทพฯ : โครงการอินโดจีนศึกษาสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
อคิน รพีพัฒน์.2551.วัฒนธรรมคือความหมาย : ทฤษฎีและวิธีการของตลิฟฟอร์ด เกียร์ซ.กรุงเทพฯ :ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
อมรา พงศาพิชญ์.2549.ความหลากหลายทางวัฒนธรรม : กระบวนทัศน์และบทบาทในประชาสังคม.พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.