รหัสวิชา : 411-322 ชื่อวิชา : บาลีสันสกฤตประยุกต์ในภาษาไทย -
ปีการศึกษา : 2558 ภาคการศึกษา : 1
พัฒน์ เพ็งผลา. 2543. บาลีสันสกฤตในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วรลักษณ์ พับบรรจง.2530. เอกสารคำสอนวิชาไทย411 ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒปทุมวัน.
วิสันติ์ กฎแก้ว. 2545. ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนาศึกษา.
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์.2526.บาลี-สันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สุภาพร มากแจ้ง. 2535. ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
โกวิทย์ พิมพวง.2550. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย. ใน 80 พรรษา ครู
ภาษาไทยแห่งแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์.2526. อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
จิรวัฒน์ เพชรรัตน์ และอัมพร ทองใบ. 2556. ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ชะเอม แก้วคล้าย. 2555. ลักษณะการใช้ศัพท์บาลีสันสกฤตในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
บรรจบ พันธุเมธา. 2518. บาลีสันสกฤตในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง
บุญร่วม ทิพพศรี. 2521. บาลี-สันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย. ชลบุรี : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน.
ปรีชา ทิชินพงศ์.2534. บาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
มงคล เดชนครินทร์. 2558. บัญญัติศัพท์-ศัพท์บัญญัติ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.ราชบัณฑิตยสถาน. 2553. คำไทยที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
วิไลศักดิ์ กิ่งค า. 2550. ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิสันติ์ กฎแก้ว.2527. ที่มาของคำบาลีสันสกฤตในภาษาไทย และคำไวพจน์ในภาษาบาลี สันสกฤต.กรุงเทพฯ : แพร่พิ ทยา.
อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล.2539.“ลักษณะคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤตในมหาชาติคำหลวง กัณฑ์ทศพร ชูชก และกุมาร”. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารีย์ สหชาติโกสีย์.2521. เทียบลักษณะคำบาลีสันสกฤตกับคำไทย.กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบางแขน.